การทำประกันสะสมทรัพย์ สามารถลดหย่อนภาษีได้อย่างไร

คุณรู้หรือไม่ว่าการทำประกันออมทรัพย์สามารถที่จะนำมาลดหย่อนภาษีได้ ซึ่งนอกจากการออมเงินและการคุ้มคลองที่ดีแล้ว การเสียภาษีก็สำคัญด้วยเช่นเดียวกัน โดยเงื่อนไขการทำประกันชีวิตที่สามารถใช้เป็นสิทธิในการลดหย่อนภาษีได้ควรจะต้องมีเกณฑ์อย่างไร
เกณฑ์การเสียภาษีของกรมสรรพากรมีเงื่อนไขอย่างไร

  1. เบี้ยประกัน สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท
  2. จะต้องมีอายุกรมธรรม์ 10 ปีขึ้นไป และจะต้องมีวงเล็บด้านหลังว่า “บำนาญแบบลดหย่อนได้”
  3. มีเงินคืนระหว่างสัญญา ต้องไม่เกิน 20% ของเบี้ยประกันรายปี และจะเริ่มจ่ายเมื่ออายุตั้งแต่ 55 – 85 ปีเป็นต้นไป หรืออาจจะมากกว่านั้น
  4. ไม่มีการจ่ายผลประโยชน์อื่นใดก่อนรับเงินบำนาญ ยกเว้นกรณีเสียชีวิต และจะต้องจ่ายเบี้ยประกันอย่างสม่ำเสมอ ไม่ว่าจะจ่ายแบบรายปี หรือรายเดือน
  5. ต้องทำกับบริษัทประกันชีวิตในประเทศไทยเท่านั้น
    ซึ่งการทำประกันการทำประกันสะสมทรัพย์เป็นการออมเงินในระยะยาว จะไม่มีการคืนเงินหรือทยอยจ่ายคืนก่อนที่จะครบสัญญา ซึ่งหากไม่ครบหรือตรงตามเงื่อนไข ไม่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้
    ข้อดีของการทำประกันสะสมทรัพย์แบบลดหย่อยภาษีได้ดีอย่างไร
    ในการทำประกันสะสมทรัพย์แบบสามารถลดหน่อยภาษีได้นั้น มีข้อดีอย่างไรบ้าง มาดูกัน
  6. การทำประกันสะสมทรัพย์ เมื่อครบกำหนดสัญญาผู้ทำประกันจะได้เงินคืนเต็มจำนวนตามที่กรมธรรม์ได้กำหนดเอาไว้ โดยที่ไม่ได้ถูกหักภาษีเอาไว้แต่อย่างใด เพราะว่าสามารถนำไปลดหย่อนเอาไว้แล้วนั่นเอง
  7. การทำประกันออมทรัพย์ คุณจะได้รับการยกเว้นเงินประกัน 100,000 บาท แรกจะไม่นำมาเสียภาษี แต่จะเริ่มต้นเสียตั้งแต่ 100,001 บาทเป็นต้น ไป ทำให้ผู้ทำประกันที่มีเงินประกันเริ่มต้นที่ 100,000 ไม่ต้องเสียภาษี และยังสามารถรับเงินคืนเต็มจำนวนที่ได้จ่ายเบี้ยประกันไปอีกด้วย

การทำประกันออมทรัพย์ เป็นการทำประกันเพื่อออมเงินเอาไว้ใช้ในอนาคต คุณจะได้รับเงินคืนอย่างเต็มจำนวน ไม่ต้องกลัวว่าเมื่อถึงเวลาได้รับเงินประกันคืนคุณจะได้คืนครบตามจำนวนที่เสียเบี้ยประกันไป เพราะในระหว่างการส่งคุณได้ทำการลดหย่อนภาษีและเสียภาษีตามกฎหมายเป็นที่เรียบร้อยแล้ว หากใครกำลังมองหาประกันออมทรัพย์ดีๆ เราขอแนะนำ ออมคุ้มคุ้ม ผลตอบแทนสูง การันตีผลตอบแทนรวมสูงถึง 555% ของทุนประกัน ออมสั้น 5 ปี คุ้มครองยาว 10 ปี พร้อมลดหย่อนภาษีสูงสุดถึง 100,000 บาท ทุกปีที่ชำระเบี้ย